Researchers and practice partners
  • มหาวิทยาลัยมหิดล
  • มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • สมาคมผู้บริโภคอินทรีย์ไทย

 

Research focus

งานวิจัยนี้เน้นการสนับสนุนให้เกิดความยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทานร้านอาหารเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงอาหารในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดภูเก็ต  คณะผู้วิจัยหาแนวทางการปรับปรุงระบบการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม ทำความเข้าใจความต้องการของผู้บริโภคที่นอกเหนือจากประโยชน์ทางสุขภาพ และเชื่อมโยงเกษตรกร ร้านอาหาร และผู้บริโภคในห่วงโซ่อุปทาน โดยงานวิจัยนี้คาดหวังจะให้เกิด

  1. เพิ่มความเข้าใจของผู้บริโภคและเพิ่มกำลังซื้ออาหารอินทรีย์
  2. สร้างความร่วมมือระหว่างผู้ผลิตและผู้ซื้อ

ผลิตภัณฑ์: ผักและผลไม้อินทรีย์, อาหารอินทรีย์

จุดเน้นในห่วงโซ่อุปทาน: เกษตรกรอินทรีย์, ร้านอาหารอินทรีย์, ผู้บริโภค

จุดเน้นในการสร้านิเวศเพื่อความยั่งยืน: เชื่อมโยงผู้ผลิต ผู้ขาย และผู้บริโภค (อุปสงค์และอุปทาน), เสริมศักยภาพของเกษตรกรอินทรีย์และร้านอาหารอินทรีย์เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงอาหาร

 


Research questions
  1. ความยั่งยืนของห่วงโซ่อุปทานร้านอาหารอินทรีย์ในปัจจุบันเป็นอย่างไร
  2. ภาพอนาคตของการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืนของผู้มีส่วนได้เสียในห่วงโซ่อุปทานเป็นอย่างไร (เกษตรกร ร้านอาหาร ผู้บริโภค)
  3. กลยุทธ์ใดบ้างที่สามารถนำมาใช้เพื่อให้ภาพอนาคตของการผลิตและบริโภคที่ยั่งยืนเกิดขึ้นได้จริง
Real world outcome
  • การยอมรับอาหารอินทรีย์ของร้านอาหารและผู้บริโภค
  • จำนวนเกษตรกรอินทรีย์และปริมาณผลผลิตอินทรีย์ที่เพิ่มขึ้น
  • ความสามารถของเกษตรกรในการวางแผนการผลิต
  • การพัฒนาและปรับปรุงเกณฑ์ร้านความยั่งยืนของการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
  • เพิ่มความโปร่งใส ความมีธรรมาภิบาล และการสื่อสารในห่วงโซ่อุปทานอาหาร

Thailand Hub

 

Researchers and practice partners
  • MU (Mahidol University)
  • UBU (Ubon Ratchathani University)
  • CU (Chulalongkorn University)
  • Cooperation with local practice partners

 

 

Research focus

The focus lies on conducting research on governance in gastro-tourism for promoting sustainable supply chains in Bangkok Metropolitan Area (BMA) and Phuket. The focus will be on restaurants as intermediary cooperative food businesses and their supply chains. The project studies cooperative governance for improving farmer groups’ arrangements regarding organic participatory guarantee system (PGS) (improving sustainability criteria), understanding consumers’ preferences for organic food beyond health benefits, and exploring interlinkages between farmers, consumers, and restaurants.

  1. Increasing appreciation and purchasing power (scaling)
  2. Cooperation for production coordination (CS-X) and sustainability certification

Food supply chain products: Vegetables, Organic food

Supply chain focus: Organic farmer groups Restaurants, Procurement for public kitchens (intermediaries), Consumers (Hybrid cooperation)

Ecosystem Focus: Bridging gaps (demand and supply), Capacity building (of farmers) on organic supply chain for gastrotourism)

 


Research questions
  1. How sustainable is the current state of organic farms and food providers?
  2. What are visions of stakeholders (farmers, restaurants, consumers) on sustainable food consumption?
  3. What are strategies and action plans to achieve mutually compatible visions of SFSC?
Real world outcome
  • Adaption of organic foods among restaurants and consumers.
  • Higher numbers of local organic farmers/higher volumes of organic produce.
  • Farmers’ ability to plan production matching (increased) demand.
  • New, improved sustainability criteria of organic certification (PGS)
  • Increase of transparency, governance, communication in supply chain.